งานวิจัย รายงานการทากิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวจิ ัยและนวัตกรรม การพัฒนาเชิงพื้นที่โดยใช้พลังงานเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อทาการเกษตรที่เหมาะสมของชุมชนสังคม จังหวัดชุมพร


รายงานการทากิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวจิ ัยและนวัตกรรม การพัฒนาเชิงพื้นที่โดยใช้พลังงานเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อทาการเกษตรที่เหมาะสมของชุมชนสังคม จังหวัดชุมพร

การดาเนินโครงการการพัฒนาเชิงพื้นที่โดยใช้พลังงานเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อทาการเกษตรที่เหมาะสมของ ชุมชนสังคมจังหวัดชุมพร ภายใต้ทุนท้าทายไทยเพื่อจัดการความรู้และการใช้ประโยชน์เชิงชุมชนสังคม มี วัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาบริบทของกลุ่มเกษตรกรจังหวัดชุมพร การออกแบบและทดสอบนวัตกรรมระบบสูบน้า พลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ การถ่ายทอดองค์ความรู้และส่งมอบนวัตกรรม การติดตามและประเมินผล ให้แก่ เกษตรกร 4 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มสหกรณ์กองทุนสวนยางคลองวังข้าง กลุ่มปลูกฟักทองและทานาบ้านเกาะ เสม็ด-บ้านหัวนอน กลุ่มประปาน้าผิวดิน และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลูกปาล์มน้ามัน จากการประเมินการใช้ นวัตกรรมรถเข็นสูบน้าพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ของเกษตรกรจังหวัดชุมพร พบว่า กลุ่มเกษตรกรจังหวัดชุมพร สามารถลดค่าใช้จ่ายของพลังงานไฟฟ้า ค่าน้ามันเชื้อเพลิง ค่าน้าประปาได้ โดยตีมูลค่าคิดเป็นเงินตามลาดับดังนี้ กลุ่มสหกรณ์กองทุนสวนยางคลองวังข้าง สามารถลดค่าใช้จ่ายได้มากที่สุดคิดเป็นจานวนเงินทั้งหมด 12,012.00 บาท/ปี รองลงมาคือกลุ่มปลูกฟักทองและทานาบ้านเกาะเสม็ด-บ้านหัวนอน คิดเป็นจานวนเงินทั้งหมด 11,457.60 บาท/ปี ลาดับถัดมาคือกลุ่มประปาน้าผิวดิน คิดเป็นจานวนเงินทั้งหมด 8,184.00 บาท/ปี และกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ปลูกปาล์มน้ามัน คิดเป็นจานวนเงินทั้งหมด 5,282,00 บาท/ปี ตามลาดับ

ทุนภายนอก
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
พลังงานทดแทน
ระบบสูบน้าพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ พลังงานทดแทน ภัยแล้ง การเกษตร

เจ้าของผลงาน
ทศวรรษ สีตะวัน
ก้องภพ ชาอามาตย์, กฤษฎา พรหมพินิจ, ครรชิต สิงห์สุข

เอกสาร

บรรณานุกรม APA
ทศวรรษ สีตะวัน ,ก้องภพ ชาอามาตย์, กฤษฎา พรหมพินิจ เเละ ครรชิต สิงห์สุข . (2565). รายงานการทากิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวจิ ัยและนวัตกรรม การพัฒนาเชิงพื้นที่โดยใช้พลังงานเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อทาการเกษตรที่เหมาะสมของชุมชนสังคม จังหวัดชุมพร. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
สถิติการเข้าชม