งานวิจัย การพัฒนากังหันลมใบอ่อนเพื่อเติมอากาศในนากุ้ง


การพัฒนากังหันลมใบอ่อนเพื่อเติมอากาศในนากุ้ง

งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมาย ออกแบบและติดตั้งกังหันลม สูง 17 เมตร เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ความเร็วลม ทิศทางลมและหาผลตอบแทนเชิงพาณิชย์ จากผลการวิจัย พบว่า ตลอดระยะเวลา 3 เดือน ตั้งแต่ 1 มีนาคม – 30 พฤษภาคม ค่าปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำมีค่าเฉลี่ย 3.500769 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งสูงกว่าค่ามาตรฐานของน้ำประเภทที่ 4 (2537) และจากการเปรียบเทียบเชิงพาณิชย์ พบว่า อัตราการแลกเนื้อ เพิ่มขึ้น 6.1 กิโลกรัม และอัตราการรอดตายของบ่อที่มีกังหันลมเติมอากาศร้อยละ 80 นอกจากนี้กระแสไฟฟ้ายังมีค่าเพิ่มขึ้นตามความเร็วลม ตามลำดับ

ทุนวิจัยงบแผ่นดิน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
พลังงานทดแทน
กังหันลมใบอ่อน (Wind leaves.) , กังหันน้ำ (Water wheel)

เจ้าของผลงาน
วิชชุดา ภาโสม
นิกร สุขปรุง

เอกสาร

บรรณานุกรม APA
วิชชุดา ภาโสม เเละ นิกร สุขปรุง . (2558). การพัฒนากังหันลมใบอ่อนเพื่อเติมอากาศในนากุ้ง. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.