งานวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผนังสำเร็จรูปคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าผสมใยแก้ว


การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผนังสำเร็จรูปคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าผสมใยแก้ว

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปริมาณเส้นใยแก้วที่เหมาะสมสำหรับคอนกรีตมวลเบาแบบบบเซลลู่ล่าผสมใยแก้ว ศึกษาคุณสมบัติการต้านทานแรงอัด แรงดึง และแรงดัด ของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลู่ล่าผสมใยแก้ว และสร้าง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบผนังสำเร็จรูปคอนกรีตมาลเบาแบบบบเซลลูล่าผสมใยแก้ว ที่มีหน่วยน้ำหนักและกำลังต้านทานแรงตัด ที่เหมาะสม การศึกษาเริ่มจากการทดสอบเพื่อศึกษาปริมาณเส้นใยแก้วที่เหมาะสมในการพัฒนาด้านกำลังอัดของ คอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า จากนั้นจะทำการศึกษาคุณสมบัติทางกลได้แก่ กำลังอัด กำลังดึงดึง และกำลังดัด ของ คอนกรีตมาลเบาแบบเซลลล่าผสมใยแก้ว ดำเนินการประเมินส่วนผสมและหน่วยน้ำหนักที่เหมาะสมเพื่อออออกแบบ และสร้างผลิตภัณฑ์แผ่นผนังสำเร็จจรูปคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าผสมใยแก้ว แล้วทดสอบคุณสมสมบัติด้านกำลัง ต้านทานแรงดัดของแผ่นผนังเพื่อประเมินประสิทธิภาพการนำไปใช้งานต่อไป ผลศึกษาพบว่า คอนกรีตมวลเบาแบบเซลลู่ล่าผสมใยแก้วที่มีปริมาณเส้นใยแก้วร้อยละ 4 ของปริมาณ ปูนชีเมนต์ มีกำลังต้านทานแรงอัดที่เหมาะสำหรับการใช้ใช้ในกระบวนการผลิตแผ่นผนังสำเร็จรูปคอนกรีตมวลเบาแบบ เซลลูล่า และผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าผสมใยแก้วเป็นทางเลือกที่ดีกว่าคอนกรีต มวลเบาแบบเซลลูล่าที่ไม่มีการผสมใยแก้ว สำหรับการสร้างแผ่นผนังสำเร็จรูป การพัฒนาด้านกำลังลังอัด กำลังดึงดึงแบบ ผ่าซีก และกำลังต้านทานแรงตัด ดีขึ้นกว่ากรณีไม่เสริมเส้นใยแก้วอย่างเห็นได้ชัด และมีค่ามากกว่ากรณีไม่เสริมเส้น ไขแก้วในทุกช่วงอายุการบ่มตอนกรีต ประสิทธิภาพการพัฒนาด้านกำลังอัดของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูลลูล่าผสมใย แก้วที่มีความหนาแน่นต่ำ จะมีประสิทธิภาพสูงกว่าในคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าที่มีความหนาแน่นสูง เส้นไยแก้ว ช่วยในการรับแรงดึงแบบผ่าช็กในคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าที่มีความหนาแน่นต่ำได้ดีกว่าในคอนกรีตมวลเบา แบบเซลลล่าที่มีความหนาแน่นสูง และเส้นใยแก้วช่วยในการรับแรงดัดในคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลล่าที่มีความ หนาแน่นสูงได้ดีกว่าในคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลลล่าที่มีความหนาแน่นตำ คอนกรีตมวลเบาแบบเซลลลล่าที่มีหน่วย น้ำหนัก 1,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือน้อยกว่า มีค่ากำลังอัดของคอนกรีตไม่เพียงพอต่อต่อการนำไปใช้ทำแผ่น ผนังคอนกรีตสำเร็จรูปตามมาตรฐาน มอก. 2226-2548 ส่วนคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าที่มีหน่วยน้ำหนัก 1,600 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือมากกว่ามีค่ากำลังลังอัดของคอนกรีตเพียงพอต่อการนำไปใช้ทำแผ่นผนังคอนกรีต สำเร็จรูปตามมาตรฐาน มอก. 2226-2548 คุณสมบัติทางกลและทางกายภาพของแผ่นผนังคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าแบบกลวงมีประสิทธิภาพ ดีกว่าแผ่นผนังแบบตัน แผ่นแบบกลวงจะมีความสามารถในการเชื่อมต่อกันระหว่างแผ่นได้ดีกว่าแผ่นแบบตัน เพราะ มี Shear key ช่วยในการต้านทานแรงเฉือนที่รอยต่อระหว่างแผ่น นอกจากนี้แผ่นผนังแบบกลวงยังมีหน่วยน้ำหนัก น้อยกว่าแบบตันอยู่ร้อยละ 20.35 ทำให้สะดวกต่อการขนย้ายและติดตั้ง นอกจากนี้ ปริมาณของส่วนผสมที่ลดลงทำให้ต้นทุนต่อแผ่นลดลงด้วย กำลังต้านทานแรงดัดสูงสุดเฉลี่ยและกำลังต้านทานแรงเฉือนสูงสุดเฉลี่ยของแผ่นผนังแบบกลวงมีค่ามากกว่าแผ่นผนังแบบต้น 2.27 เท่า และ 2.23 เท่า ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่า มิติแบกลวงและ น้ำหนักที่ลดลง ช่วยทำให้ประสิทธิภาพด้านการต้านทานแรงดัดและแรงเฉือนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ค่าการแอ่นตัวที่จุด กึ่งกลางแผ่นผนังที่ลดลงร้อยละ 57.22 ยังแสดงให้เห็นถึงความแกร่งของแผ่นผนังที่ดีกว่า ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการ นำไปใช้ในงานก่อสร้างได้หลากหลายมากขึ้น

ทุนสนับสนุนงานมูลฐาน (Fundamental Fund)
เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
-
-
-
ผนังสำเร็จรูป, คอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า, ใยแก้ว

เจ้าของผลงาน
อาจารย์ภาคิณ ลอยเจริญ
-

เอกสาร

บรรณานุกรม APA
อาจารย์ภาคิณ ลอยเจริญ . (2567). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผนังสำเร็จรูปคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าผสมใยแก้ว. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.