งานวิจัย การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยวิธีการเรียนรู้แบบนำตนเอง รายวิชาการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ สำหรับนักศึกษาสายครู


การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยวิธีการเรียนรู้แบบนำตนเอง รายวิชาการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ สำหรับนักศึกษาสายครู

การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่ 1 พัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบแบบผสมผสานต้วยวิธีการเรียนรู้แบบนำตนเอง รายวิชาการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ สำหรับนักศึกษาสายครู 2) ศึกษาผลการกตลองใช้รูปแบการเรียนรู้แบบผสมผสานตัวยวิธีการเรียนรู้แบบนำคนเอง รายวิชการวิจัยพื่พัฒนาการเรียนรู้ สำหรับนักศึกษาสายครู วิธีดำเนินการวิจัยประกอบตัวย 3 ชั้นตอน ได้แก่ 1 การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ 2) การสร้างเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3) การทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ไช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ที่ลงทะเบียนเรียน รายวิชาการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 2 หมู่เรียน จำพวน 50 คน เป็นกลุ่มกตลอง จำนวน 26 คน กลุ่มควบคุม จำนวน 24 คน ไตมาจากการสุ่มแบบกลุ่ม ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ในกรวิจ้ยไต้แก่ 1 แบบทดสอบวัตผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ) แบบวัตคุณลักษณะการเรียนรู้แบบน้ำตนเอง และ 3)แบบสอบถามความพึงพอใจ กรวิเคราะห์ข้มูลใช้การวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ คำเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทตสอบค่าทีแบบ One Somple, Dependent Somples และ Independent Samples การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการเรียนรู้ผสานต้วยวิธีการเรียนรู้แบบนำตนเอง วิชา การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ สำหรับนักศึกษาสายครู มี 7 องค์ประกอบ ได้แก่ 1 มาและความสำคัญ 2 แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐาน 3) หลักการ 4) จุดมุ่งหมาย 5) เนื้อหา 6) กระบวนการเรียนรู้ แบ่งเป็น 2 รูปแบบ คือ การเรียนการสอนแบบเผชิญหน้า และการสอนแบบออนไลน์ 7) การวัดและประเมินผล 2. ผลการทดลองใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยวิธีการเรียนรู้แบบนำตนเอง รายวิชาการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ สำหรับนักศึกษาสายครู มีดังนี้ 2.1 รูปแบบกาเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยวิธีการเรียนรู้แบบนำตนเอง รายวิชาการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ สำหรับนักศึกษาสายครู มีประสิทธิภาพ เท่ากับ78.85/77.23 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 75/75 ที่ตั้งไว้ 2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยวิธีกาเรียนรู้แบบนำตนคง สำหรับนักศึกษาสายครู หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สูงกว่าเกณฑ์การประเมินที่กำหนด อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสูงกว่านักศึกษาที่ได้รับการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.3 การเรียนรู้แบบน้ำตนเองของนักศึกษาที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยวิธีการเรียนรู้แบบนำตนเอง สำหรับนักศึกษาสายครู หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สูงกว่าเกณฑ์การประเมินที่กำหนด อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 01 และสูงกว่านักศึกษาที่ได้รับการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 24 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยวิธีการเรียนรู้แบบนำตนเองรายวิชาการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ สำหรับนักศึกษาสายครูพบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก ผลการพิจารณาเทียบกับคะแนนที่ใช้เป็นเกณฑ์การประเมินที่กำหนด อยู่ในระดับมากขึ้นไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

ทุนวิจัยงบรายได้
ครุศาสตร์
วิชาชีพครู
-
-
รูปแบบการเรียนรู้, การเรียนรูปแบบผสมผสาน, การเรียนรูปแบบนำตนเอง, การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

เจ้าของผลงาน
ผศ.ดร.เพลินพิศ ธรรมรัตน์
-

เอกสาร

บรรณานุกรม APA
ผศ.ดร.เพลินพิศ ธรรมรัตน์ . (2563). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยวิธีการเรียนรู้แบบนำตนเอง รายวิชาการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ สำหรับนักศึกษาสายครู. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.