งานวิจัย การพัฒนาวัสดุปลูกพืชในระบบไฮโดรโปนิกส์จากวัสดุธรรมชาติ


การพัฒนาวัสดุปลูกพืชในระบบไฮโดรโปนิกส์จากวัสดุธรรมชาติ

านวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักสลัดกรีนโอคที่ปลูกในระบบ ไฮโดรโปนิกสจากการใชวัสดุธรรมชาติ วางแผนการทดลองแบบสุมในบล็อกสมบูรณ จํานวน 4 กรรมวิธี ซึ่งแต ละกรรมวิธี คือวัสดุปลูกที่แตกตางกัน กรรมวิธีละ 4 ซ้ำ ไดแก กรรมวิธีที่ 1 เพอรไลท : เวอรมิคูไลท อัตรา 3:1 (v/v) กรรมวิธีที่ 2 ถานไม : ขุยมะพราว อัตรา 3:1 (v/v) กรรมวิธีที่ 3 ผักตบชวา: ขุยมะพราว อัตรา 3:1 (v/v) และกรรมวิธีที่ 4 ธูปฤาษี : ขุยมะพราว อัตรา 3:1 (v/v) ดําเนินการวิจัย ณ แปลงปฏิบัติการพืชศาสตร คณะ เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ระหวางเดือน ตุลาคม 2560 ถึง กันยายน 2561 ผลการศึกษาพบวา วัสดุปลูกที่ไดจากวัสดุธรรมชาติ คือ ถานไม และผักตบชวาสามารถนํามาเปนวัสดุ ปลูกผักสลัดในระบบไฮโดรโปนิกสได โดยวัสดุปลูกผักจากถานไมผสมขุยมะพราว อัตรา 3:1 ใหความสูงของตน ความกวางของทรงพุม จํานวนใบ สูงที่สุด คือ 11.60 เซนติเมตร 22.3 เซนติเมตร และ 13.4 ใบตอตน ตามลําดับ รวมทั้งน้ําหนักสดและน้ําหนักแหงมากที่สุด คือ 31.46 กรัมตอตน และ 2.99 กรัมตอตน ตามลําดับ รองลงมาคือผักตบชวาผสมขุยมะพราว อัตรา 3:1 พบวาสลัดกรีนโอคมีความสูงของตน 11.60 เซนติเมตร ความกวางของทรงพุม 21.2 เซนติเมตร จํานวนใบ 12.5 ใบตอตน รวมทั้งน้ําหนักสด 27.52 กรัมตอตน และ น้ําหนักแหง 2.59 กรัมตอตน สวนผักสลัดที่ปลูกบนธูปฤาษีผสมขุยมะพราว อัตรา 3:1 และเพอรไลทผสมเวอร มิคูไลท อัตรา 3:1 มีการเจริญเติบโตและผลผลิตที่ต่ำ (P<0.05)

ทุนวิจัยงบแผ่นดิน
เทคโนโลยีการเกษตร
เกษตรศาสตร์
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
พืชสวน/พืชไร่ (เช่น ข้าวโพด ไม้ผล พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ)
วัสดุปลูก, ไฮโดรโปนิกส์, ผักสลัด

เจ้าของผลงาน
ครองใจ โสมรักษ์
เสาวคนธ์ เหมวงษ์, กนกกาญจน์ วรวุฒิ, ภรภัทร ไชยสมบัติ

เอกสาร

บรรณานุกรม APA
ครองใจ โสมรักษ์ ,เสาวคนธ์ เหมวงษ์, กนกกาญจน์ วรวุฒิ เเละ ภรภัทร ไชยสมบัติ . (2562). การพัฒนาวัสดุปลูกพืชในระบบไฮโดรโปนิกส์จากวัสดุธรรมชาติ. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.