งานวิจัย การเพิ่มจำนวนโครโมโซม “ครามงอ” (Indigoferasuffruticosa) โดยการใช้โคลชิซิน เพื่อการสนับสนุนภูมิปัญญาของจังหวัดสกลนคร


การเพิ่มจำนวนโครโมโซม “ครามงอ” (Indigoferasuffruticosa) โดยการใช้โคลชิซิน เพื่อการสนับสนุนภูมิปัญญาของจังหวัดสกลนคร

จากการศึกษาการเกิดโพลีพลอยด์ในเมล็ดครามงองอกโดยการชักนำด้วยสารละลายโคล ชิซินในความเข้มข้นต่าง ๆ (0.0, 0.1, 0.2 และ0.4 เปอร์เซ็นต์) เป็นเวลาต่าง ๆ (0, 6 และ 12 ชั่วโมง) พบว่า ความเข้มข้นของโคลชิซินในแต่ละระดับทำให้ลักษณะความงอก ความสูง และ จำนวนใบ ของต้นกล้าครามงอมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง ส่วนเวลาที่ไดรับโคลชิซินแต่ละ ระดับไม่ทำให้ความงอก ความสูง และจำนวนใบของต้นกล้าครามงอแตกต่างทางสถิติ นอกจากนี้ยัง พบว่า มีปฺฏิกริยาสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้น และเวลาของการได้รับโคลชิซินของครามงอด้วย

ทุนวิจัยงบแผ่นดิน
เทคโนโลยีการเกษตร
พืชศาสตร์
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
คราม
คราม , Kram ngo, Indigofera suffruticosa, polyploid, colchicine

เจ้าของผลงาน
สุนทรีย์ สุรศร
ศุภสิทธิ์ สิทธาพานิช,ณัฐพงษ์ วงษ์มา

เอกสาร

บรรณานุกรม APA
สุนทรีย์ สุรศร ,ศุภสิทธิ์ สิทธาพานิช เเละ ณัฐพงษ์ วงษ์มา . (2559). การเพิ่มจำนวนโครโมโซม “ครามงอ” (Indigoferasuffruticosa) โดยการใช้โคลชิซิน เพื่อการสนับสนุนภูมิปัญญาของจังหวัดสกลนคร. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.